วัน/เดือน/ปี 12/ก.ค./2556
ครั้งที่5 เวลาเรียน 13.10-16.40 เวลาเข้าสอน 13.10
เวลาเข้าเรียน 13.10 เวลาเลิกเรียน 16.40
ในการเรียนการสอนของวันนี้อาจารย์ได้ให้นักศึกษาทุกคนวาดภาพสิ่งที่ตัวเองรักมากที่สุดในชีวิต ซึ่งดิฉันก็ได้วากรูป ชุดนอน
ในการเรียนการสอนของวันนี้อาจารย์ได้ให้นักศึกษาทุกคนวาดภาพสิ่งที่ตัวเองรักมากที่สุดในชีวิต ซึ่งดิฉันก็ได้วากรูป ชุดนอน
องค์ประกอบทางด้านภาษา
1. Phonology
- คือระบบเสียง
- เปล่งออกมาเพื่อสื่อความหมาย
- หน่วยเสียงจะประกอบขึ้นเป็นคำในภาษา
2. Semantic
- คือความหมายภาษาและคำศัพท์
- คำศัพท์บางคำสามารถมีหลากหลายความหมาย
- ความหมายอาจจะเหมือนกันแต่ใช้คำศัพท์ที่ต่างกัน
3. Syntax
- คือไวยากรณ์
- การเรียงรูปประโยค
4. Pracmatic
- การนำไปใช้
- ใช้ให้ถูกต้องตามสถานะการณ์และเทศกาล
แนวคิด
1. แนวคิดของกลุ่มพฤษติกรรมนิยม
ทฤษฎีของ สกินเนอร์
- สิ่งแวดล้อมมีอิทธิพลต่อพัฒนาการทางภาษา
- ให้ความสำคัญกับสิ่งเร้าและการตอบสนอง
สกินเนอร์ ได้ทำการทดลองโดยการใช้หนูในการทดลอง ใส่ไว้ในกล่องโดยที่เขาไม่ให้อาหารเรย แล้วจะมีคานไว้ เมื่อหนูแตะคานอาหารก็จะตกมา ทำให้หนูเกิดการเรียนรู้
ทฤษฎีของ John B. Watsan
- วางเงื่อนไขแบบคลาสสิก
- เป็นสิ่งที่สามารถกระทำได้ และผู้ใหญ่สามารถวางเงื่อนไขให้เด็กเกิดพฤษติกรรมที่พึงประสงค์ทุกฟฤษติกรรมได้
2. สติปัญญา
Piaget ได้กล่าวไว้ว่า
- เด็กจะเรียนรู้จากการมีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม
- ภาษาเป็นสิ่งที่ทำให้เห็นระดับพัฒนาการทางสติปัญของเด็ก
Vygotsky
- เด็กเรียนรู้จากการมีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม
- สังคม และบุคคลรอบข้าง จะมีผลต่อการเรียนรู้ทางภาษาของเด็ก
- จะเน้นบทบาทของผู้ใหญ่ ซึ่งเมื่อผู้ใหญืทำอะไรเด็กก็จะจำและนำกลับไปทำตาม
- ผู้ใหญ่ควรชี้แนะและขยายประสบการณ์ด้านภาษาของเด็ก
3. แนวคิดทางด้านร่างกาย
Annold Gesell
- เน้นความพร้อมทางด้านร่างกายในการใช้ภาษา
- ความพร้อม วุฒิภาวะของเด็กแต่ละคนจะไม่เท่ากัน
- เด็กบางคนจะมีควมาพร้อมทางร่างกายในการใช้ภาษาได้เร็ว
- เด็กบางคนมีปัญหาอวัยวะบางส่วนที่ใช้ภาษาในการสื่อสารบกพร่อง
4. แนวคิดกลุ่มที่ชื่อว่าภาษาติดตัวมาตั้งแต่เกิด
Noam Chomsky
- ภาษาเป็นกระบวการนที่เกิดขึ้นภายในตัวมนุษย์
- การเรียนรู้ภาษาขึ้นอยู่กับวุฒิภาวะ
- มนุษย์เกิดมาโดยมีศักยภาพในการเรียนรู้ทางภาษามา ตั้งแต่เกิด
LAD ( Language Acquisition Pevice)
O. Hobart Mowrer
- คิดค้นทฤษฎีการพึงพอใจ
- ความสามารถในการฟังและความเพลิดเพลินในการได้ยินเสียงผู้อื่นและเสียงตัวเอง เป็นสิ่งสำคัญอย่างยิ่งต่อพัฒนาการทางด้านภาษา
แนวคิดทางการจัดประสบการณ์ทางภาษา
- เป้นสิ่งที่สะท้อนปรัชญาและความเชื่อของครูเกี่ยวกับการเรียนรู้ภาษาของเด็ก
- นำไปสู่การกำหนดกระบวนการที่ใช้อย่างแต่กต่างกัน
Richard and Rodger 1995 แบ่งเป็น 3 กลุ่ม ดังนี้
1. มุมมองด้านโครงสร้างทางภาษา
- นำองค์ประกอบย่อยมาใช้ในการสื่อความหมาย
2. มุมมองด้านหน้าที่ทางภาษา
- เชื่อว่าภาษาเป็นเครื่องมือสำหรับสื่อความหมาย
- จัดประสบการณ์เน้นการสื่อความหมาย
- ไม่ได้ละทิ้งแบบแผนหรือไวยากรณ์
3. มุมมองด้านปฏิสัมพันธ์
- ภาษาเป็นเครื่องมือในการสร้างความสัมพันธ์ทางสังคม
- แบกเปบี่ยนปรสบการณ์
- เด็กมีปฏิสัมพันธ์ผ่านในการใช้ภาษา
3. แนวคิดทางด้านร่างกาย
Annold Gesell
- เน้นความพร้อมทางด้านร่างกายในการใช้ภาษา
- ความพร้อม วุฒิภาวะของเด็กแต่ละคนจะไม่เท่ากัน
- เด็กบางคนจะมีควมาพร้อมทางร่างกายในการใช้ภาษาได้เร็ว
- เด็กบางคนมีปัญหาอวัยวะบางส่วนที่ใช้ภาษาในการสื่อสารบกพร่อง
4. แนวคิดกลุ่มที่ชื่อว่าภาษาติดตัวมาตั้งแต่เกิด
Noam Chomsky
- ภาษาเป็นกระบวการนที่เกิดขึ้นภายในตัวมนุษย์
- การเรียนรู้ภาษาขึ้นอยู่กับวุฒิภาวะ
- มนุษย์เกิดมาโดยมีศักยภาพในการเรียนรู้ทางภาษามา ตั้งแต่เกิด
LAD ( Language Acquisition Pevice)
O. Hobart Mowrer
- คิดค้นทฤษฎีการพึงพอใจ
- ความสามารถในการฟังและความเพลิดเพลินในการได้ยินเสียงผู้อื่นและเสียงตัวเอง เป็นสิ่งสำคัญอย่างยิ่งต่อพัฒนาการทางด้านภาษา
แนวคิดทางการจัดประสบการณ์ทางภาษา
- เป้นสิ่งที่สะท้อนปรัชญาและความเชื่อของครูเกี่ยวกับการเรียนรู้ภาษาของเด็ก
- นำไปสู่การกำหนดกระบวนการที่ใช้อย่างแต่กต่างกัน
Richard and Rodger 1995 แบ่งเป็น 3 กลุ่ม ดังนี้
1. มุมมองด้านโครงสร้างทางภาษา
- นำองค์ประกอบย่อยมาใช้ในการสื่อความหมาย
2. มุมมองด้านหน้าที่ทางภาษา
- เชื่อว่าภาษาเป็นเครื่องมือสำหรับสื่อความหมาย
- จัดประสบการณ์เน้นการสื่อความหมาย
- ไม่ได้ละทิ้งแบบแผนหรือไวยากรณ์
3. มุมมองด้านปฏิสัมพันธ์
- ภาษาเป็นเครื่องมือในการสร้างความสัมพันธ์ทางสังคม
- แบกเปบี่ยนปรสบการณ์
- เด็กมีปฏิสัมพันธ์ผ่านในการใช้ภาษา
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น